ตะแกรงอยู่กับที (Stationary Screen)

  แบ่งได้เป็น  2 ชนิด คือ

ก) ตะแกรงกรีซรี (Grizzly) ทำหน้าที่คัดขนาดสินแร่ค่อนข้างใหญ่ โดยเฉพาะทำการคัดสินแร่ก่อนป้อนเข้าเครื่องย่อยขั้นต้น (Primary Crusher)  ตัวแท่งเหล็ก (Bar) จะมีพื้นที7หน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู (Tapered)  ซึ่งอาจใช้รางรถไฟกลับด้านมาวางเรียงกันอาจมีระยะห่างระหว่าง 2-30 ซม. (ดูรูปที่7 6.6) หากแท่งตะแกรงนี้มีการสั่นด้วยก็จะทำหน้าที่เป็นเครื่องป้อน (Feeder) )




ข) ตะแกรงโค้ง (Sieve Bend)    เป็นตะแกรงแบบอยู่กับที่ใช้คัดขนาดสินแร่ที่มีขนาดเล็กแบบเปียก ตัวตะแกรงมีลักษณะโค้ง (ดูรูปที7 6.7) การป้อนสินแร่จะป้อนลงบนแผนตะแกรงที่ทำด้วยเหล็กรูปลิ่ม หรือแบบอื่น ปัญหาที่อาจจะเกิดจากการใช้ตะแกรงโค้งนี้ก็คือการที7สินแร่ละเอียดที่ลอดผ่านรูตะแกรงจะไหลไปปิดรูตะแกรงด้านหลังของตะแกรง ดังนั้นจึงต้องใช้แถบพลาสติกติดเป็นช่วงๆ ตรงด้านใต้พื้นตะแกรงซึ่งจะทำให้การคัดขนาดได้ผลดีขึ้นตะแกรงโค้งแบบอยู่กับที่ มีข้อดีคือไม่ต้องเสียพลังงานในการทำให้ตะแกรงเคลื่อนไหว แต่ก็มีข้อเสียในเรื่อง 


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น